โครงการศึกษาพัฒนาการจัดทำต้นทุน Unit Cost สำหรับหน่วยบริการระยะที่ 2
จัดโดยกลุ่มงานประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
ในปี 2556 กระทรวงสาธารณสุขได้มีโครงการศึกษาพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ Unit Cost สำหรับหน่วยบริการ ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อมีการดำเนินการเรื่องต้นทุนครอบคลุมไปยังทุกหน่วยงานในสังกัด โดยให้โปรแกรมมาตรฐานที่พัฒนาและปรับปรุงมาจากปี 2555 เพื่อให้มีการจัดเก็บข้อมูลตามรูปแบบและหลักการเดียวกัน ดังนี้
วิธีการจัดทำบัญชีต้นทุนสถานพยาบาล
1. การเตรียมข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต
1.1 กำหนดศูนย์ต้นทุน
1.2 การเตรียมข้อมูลจากระบบบัญชี
1.3 การเตรียมข้อมูลระดับศูนย์ต้นทุน
1.4 การคำนวณต้นทุนทางตรง
1.5 การกระจายต้นทุน และการเตรียมข้อมูลสำหรับใช้เป็นเกณฑ์ปันส่วน
1.6 การคำนวณต้นทุนรวม (Full Cost)
2. การคาดประมาณต้นทุนผู้ป่วยรายบุคคลด้วยวิธีจุลภาค (Patient-level costing using micro-costing approach)
2.1 การคำนวณอัตราส่วนต้นทุนต่อราคาขาย (Ratio of Cost to Charge:RCC)
2.1.1 การเตรียมข้อมูล
2.1.1 การคาดประมาณต้นทุนรวมรายหมวดค่ารักษา
2.1.1 การรวบรวมข้อมูลราคาขาย (Charge) ที่เรียกเก็บจากการให้บริการ
2.1.1 การคำนวณอัตราส่วนต้นทุนต่อราคาขาย(Cost to charge ratio)
2.2 การเตรียมข้อมูลและการคาดประมาณต้นทุนผู้ป่วยรายบุคคลด้วยวิธี Micro-costing
2.2.1 การคำนวณต้นทุนรายหมวดค่ารักษาของผู้ป่วยรายคน
2.2.2 การคำนวณต้นทุนผู้ป่วยรายบุคคล (Patient-level costing)
2.3 การคำนวณต้นทุนรายโรค ต้นทุนรายกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ต้นทุนรายสิทธิหลักประกันสุขภาพ
2.4 การเตรียมข้อมูลผู้ป่วยรายบุคคลสำหรับการจัดทำข้อมูลต้นทุนแบบ Micro-costing
3. โปรแกรม Cost Project (ตัวโปรแกรมโดยรวม)
หมายเหตุ : เมื่อเปิดโปรแกรม Cost Project แล้ว
1. กดปุ่ม 1 ครั้ง วัตถุประสงค์ เพื่อลบข้อมูลเก่าออกจากระบบ
2. กาหนดรหัสโรงพยาบาลและชื่อโรงพยาบาลเพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
โปรแกรม Data
ขั้นตอนที่ 1 Data
ขั้นตอน
1.เปิดโปรแกรม Data (ตัวโปรแกรม)
2. กดปุ่มเริ่มใหม่ มุมบนขวามือ เพื่อลบข้อมูลเก่า (ตอบใช่เพื่อยืนยันการลบข้อมูลเก่า)